ครูเกษียณอายุราชการ2558
วิธีนำเนื้อหาดีๆ จากครูบ้านนอกมาติดเว็บ
•ข่าวการศึกษา•
"ดาว์พงษ์" แจงต้องทำงานแบบคำสั่งเดียว
"ดาว์พงษ์" แจงต้องทำงานแบบคำสั่งเดียว
•ข่าวการศึกษา•
สพฐ.คลอดปฎิทินรับนักเรียนปี 59
สพฐ.คลอดปฎิทินรับนักเรียนปี 59
•คลิปยอดนิยม•
พากษ์อีสาน คลิปล้อตัวอย่าง "ฟรีแลนซ์ฯ" รุ่นจิ๋ว ที่ผู้กับเต๋อถึงกับยกนิ้วให้
พากษ์อีสาน คลิปล้อตัวอย่าง "ฟรีแลนซ์ฯ" รุ่นจิ๋ว ที่ผู้กับเต๋อถึงกับยกนิ้วให้
•ข่าวการศึกษา•
เลขาธิการ กพฐ.รู้โดนเด้ง2สัปดาห์มาแล้ว ไม่ได้ตกใจ-น้อยใจ-เป็นทุกข์
เลขาธิการ กพฐ.รู้โดนเด้ง2สัปดาห์มาแล้ว ไม่ได้ตกใจ-น้อยใจ-เป็นทุกข์
•ข่าวการศึกษา•
สพฐ.จัดสรรงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภคและสนับสนุนส่งเสริมฯ
สพฐ.จัดสรรงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภคและสนับสนุนส่งเสริมฯ
•ข่าวการศึกษา•
รายละเอียดประกอบการโอนเปลี่ยนแปลงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ปีงปม.พ.ศ. 2558
รายละเอียดประกอบการโอนเปลี่ยนแปลงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ปีงปม.พ.ศ. 2558
•ข่าวการศึกษา•
สพฐ.เล่นบทดุ คุมเข้มสอบครูผู้ช่วย
สพฐ.เล่นบทดุ คุมเข้มสอบครูผู้ช่วย
•ข่าวการศึกษา•
ขานรับนโยบายสั่งลดชั่วโมงเรียนชี้ร.ร.ต้องปรับหลักสูตรที่ศธ.กำหนด-เพิ่มความรู้เด็ก
ขานรับนโยบายสั่งลดชั่วโมงเรียนชี้ร.ร.ต้องปรับหลักสูตรที่ศธ.กำหนด-เพิ่มความรู้เด็ก
•ข่าวจากระทรวงศึกษาธิการ•
ครม.อนุมัติแต่งตั้งผู้บริหารฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ (กระทรวงศึกษาธิการ)
ครม.อนุมัติแต่งตั้งผู้บริหารฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ (กระทรวงศึกษาธิการ)
•ข่าวการศึกษา•
"บิ๊กหนุ่ย" แจงโยก "กมล" ไปสกศ. หวังดันปฏิรูปการศึกษาโฉมใหม่
"บิ๊กหนุ่ย" แจงโยก "กมล" ไปสกศ. หวังดันปฏิรูปการศึกษาโฉมใหม่
•ข่าวการศึกษา•
โยก “กมล” นั่ง สกศ. “การุณ” นั่ง กพฐ.
โยก “กมล” นั่ง สกศ. “การุณ” นั่ง กพฐ.
•ความรู้ทั่วไป•
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ปี 58 ใน 7 สาขา 32 รายการ มีอะไรบ้าง คลิกเลย
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ปี 58 ใน 7 สาขา 32 รายการ มีอะไรบ้าง คลิกเลย
•ข่าวการศึกษา•
"การุณ" ผงาดยึดเก้าอี้บิ๊ก สพฐ.
"การุณ" ผงาดยึดเก้าอี้บิ๊ก สพฐ.
•ข่าวการศึกษา•
ครม.แต่งตั้ง เลขาธิการ กพฐ.คนใหม่
ครม.แต่งตั้ง เลขาธิการ กพฐ.คนใหม่
•ข่าวการศึกษา•
ครม. แต่งตั้ง-โยกย้าย ผู้ว่าราชการจังหวัด-บิ๊กมท. กว่า50เก้าอี้ สิงห์ดำขึ้นพรึบ!
ครม. แต่งตั้ง-โยกย้าย ผู้ว่าราชการจังหวัด-บิ๊กมท. กว่า50เก้าอี้ สิงห์ดำขึ้นพรึบ!
•บทความการศึกษา•
ผลิต ใช้ และพัฒนาครูอย่างไร จึงจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพผู้เรียน
ผลิต ใช้ และพัฒนาครูอย่างไร จึงจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพผู้เรียน

ครูชาญวิทย์

ครูชาญวิทย์
Blog Sites เพื่อประกอบการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ กิจกรรมฝึกทักษะทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120
ระบบการเรียน (Knowledge Management-KM) ทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียน Worl Class Standrad (1) ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills (2) ทักษะการคิด Thinking Skills (3) ทักษะการแก้ปัญหา Problerm Skills (4) ทักษะชีวิต Life Skills (5) ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills (6) ทักษะการสื่อสาร Communication Skills บูรณาการร่วมวิชาคอมพิวเตอร์ ทักษะที่เพรียบพร้อม 4 ด้าน (1) ทักษะด้านรู้ภาษาดิจิตอล Digital Literacy (2) ทักษะด้านรู้คิดประดิษฐ์สร้าง (3) ทักษะด้านการสื่อสารมีประสิทธิภาพ (4) ทักษะด้านการสื่อสารมีประสิทธิผล สู่เป้าหมายคุณภาพ "ดี เก่ง มีความสุข" ตามเป้าหมายของหลักสูตรการศึกษา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------ครูชาญวิทย์

ข่าว

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558

ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์


ขั้นตอนวิธีการทางประวัติศาสตร์


ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย

        ขั้นตอนที่ 1 การกำหนดเป้าหมาย เป็นขั้นตอนแรก นักประวัติศาสตร์ต้องมีจุดประสงค์ชัดเจนว่าจะศึกษาอะไร อดีตส่วนไหน สมัยอะไร และเพราะเหตุใด เป็นการตั้งคำถามที่ต้องการศึกษา นักประวัติศาสตร์ต้องอาศัยการอ่าน การสังเกต และควรต้องมีความรู้กว้างๆ ทางประวัติศาสตร์ในเรื่องนั้นๆมาก่อนบ้าง ซึ่งคำถามหลักที่นักประวัติศาสตร์ควรคำนึงอยู่ตลอดเวลาก็คือทำไมและเกิดขึ้นอย่างไร

        ขั้นตอนที่ 2 การรวบรวมข้อมูล หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่ให้ข้อมูล มีทั้งหลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร และหลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร มีทั้งที่เป็นหลักฐานชั้นต้น(ปฐมภูมิ) และหลักฐานชั้นรอง(ทุติยภูมิ) ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน

        ขั้นตอนที่ 3 การประเมินคุณค่าของหลักฐาน วิพากษ์วิธีทางประวัติศาสตร์ คือ การตรวจสอบหลักฐานและข้อมูลในหลักฐานเหล่านั้นว่า มีความน่าเชื่อถือหรือไม่ ประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานและวิพากษ์ข้อมูลโดยขั้นตอนทั้งสองจะกระทำควบคู่กันไป เนื่องจากการตรวจสอบหลักฐานต้องพิจารณาจากเนื้อหา หรือข้อมูลภายในหลักฐานนั้น และในการวิพากษ์ข้อมูลก็ต้องอาศัยรูปลักษณะของหลักฐานภายนอกประกอบด้วยการวิพากษ์หลักฐานหรือวิพากษ์ภายนอก

        ขั้นตอนที่ 4 การตีความหลักฐานการตีความหลักฐาน หมายถึง การพิจารณาข้อมูลในหลักฐานว่าผู้สร้างหลักฐานมีเจตนาที่แท้จริงอย่างไร โดยดูจากลีลาการเขียนของผู้บันทึกและรูปร่างลักษณะโดยทั่วไปของประดิษฐกรรมต่างๆเพื่อให้ได้ความหมายที่แท้จริงซึ่งอาจแอบแฟงโดยเจตนาหรือไม่ก็ตาม

        ขั้นตอนที่ 5 การสังเคราะห์และการวิเคราะห์ข้อมูล จัดเป็นขั้นตอนสุดท้ายของวิธีการทางประวัติศาสตร์ ซึ่งผู้ศึกษาค้นคว้าจะต้องเรียบเรียงเรื่อง หรือนำเสนอข้อมูลในลักษณะที่เป็นการตอบหรืออธิบายความอยากรู้ ข้อสงสัยตลอดจนความรู้ใหม่ ความคิดใหม่ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้านั้นลักษณะ ประเภท และความสำคัญของหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความหมายและความสำคัญของประวัติศาสตร์

        ประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่ว่าด้วยพฤติกรรมหรือเรื่องราวของมนุษย์ที่เกิดขึ้นในอดีต ร่องรอยที่คนในอดีตสร้างเอาไว้ เป้าหมายของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ คือ การเข้าใจสังคมในอดีตให้ใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด เพื่อนำมาเสริมสร้างความเข้าใจในสังคมปัจจุบัน

            "ประวัติศาสตร์" ไว้ เช่น
        
        อาร์. จี. คอลลิงวูด (R. G. Collingwood) อธิบายว่าประวัติศาสตร์คือวิธีการวิจัยหรือการไต่สวน ... โดยมีจุดมุ่งหมายจะศึกษาเกี่ยวกับ ... พฤติการณ์ของมนุษยชาติที่เกิดขึ้นในอดีต (history is a kind of research or inquiry ... action of human beings that have been done in the past.)

        อี. เอช. คาร์ (E. H. Carr) อธิบายว่าประวัติศาสตร์นั้นก็คือกระบวนการอันต่อเนื่องของการปฏิสัมพันธ์ระหว่างนักประวัติศาสตร์กับข้อมูลของเขา ประวัติศาสตร์คือบทสนทนาอันไม่มีที่สิ้นสุดระหว่างปัจจุบันกับอดีต (What is history?, is that it is a continuous process of interaction between the present and the past.)

        ส่วน ศ.ดร.ธงชัย วินิจจะกูล นักวิชาการด้านประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในสหรัฐอเมริกาอธิบายถึงคำว่าประวัติศาสตร์และเตือนผู้ศึกษา/อ่านประวัติศาสตร์ไว้น่าสนใจ ดังนี้ "การเข้าใจอดีตนั้นคือประวัติศาสตร์ ... เราต้องเข้าใจว่าความรู้เกี่ยวกับอดีตนั้นสร้างใหม่ได้เรื่อยๆ เพราะทัศนะมุมมองของสมัยที่เขียนประวัติศาสตร์นั้นเปลี่ยนอยู่เสมอ ..."

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ครูชาญวิทย์

ครูชาญวิทย์