ครูเกษียณอายุราชการ2558
วิธีนำเนื้อหาดีๆ จากครูบ้านนอกมาติดเว็บ
•ข่าวการศึกษา•
"ดาว์พงษ์" แจงต้องทำงานแบบคำสั่งเดียว
"ดาว์พงษ์" แจงต้องทำงานแบบคำสั่งเดียว
•ข่าวการศึกษา•
สพฐ.คลอดปฎิทินรับนักเรียนปี 59
สพฐ.คลอดปฎิทินรับนักเรียนปี 59
•คลิปยอดนิยม•
พากษ์อีสาน คลิปล้อตัวอย่าง "ฟรีแลนซ์ฯ" รุ่นจิ๋ว ที่ผู้กับเต๋อถึงกับยกนิ้วให้
พากษ์อีสาน คลิปล้อตัวอย่าง "ฟรีแลนซ์ฯ" รุ่นจิ๋ว ที่ผู้กับเต๋อถึงกับยกนิ้วให้
•ข่าวการศึกษา•
เลขาธิการ กพฐ.รู้โดนเด้ง2สัปดาห์มาแล้ว ไม่ได้ตกใจ-น้อยใจ-เป็นทุกข์
เลขาธิการ กพฐ.รู้โดนเด้ง2สัปดาห์มาแล้ว ไม่ได้ตกใจ-น้อยใจ-เป็นทุกข์
•ข่าวการศึกษา•
สพฐ.จัดสรรงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภคและสนับสนุนส่งเสริมฯ
สพฐ.จัดสรรงบประมาณปีงบประมาณ พ.ศ. 2558 เพื่อชำระหนี้ค่าสาธารณูปโภคและสนับสนุนส่งเสริมฯ
•ข่าวการศึกษา•
รายละเอียดประกอบการโอนเปลี่ยนแปลงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ปีงปม.พ.ศ. 2558
รายละเอียดประกอบการโอนเปลี่ยนแปลงการจัดสรรงบประมาณรายจ่าย โครงการพัฒนาคุณภาพโรงเรียนขนาดเล็ก ปีงปม.พ.ศ. 2558
•ข่าวการศึกษา•
สพฐ.เล่นบทดุ คุมเข้มสอบครูผู้ช่วย
สพฐ.เล่นบทดุ คุมเข้มสอบครูผู้ช่วย
•ข่าวการศึกษา•
ขานรับนโยบายสั่งลดชั่วโมงเรียนชี้ร.ร.ต้องปรับหลักสูตรที่ศธ.กำหนด-เพิ่มความรู้เด็ก
ขานรับนโยบายสั่งลดชั่วโมงเรียนชี้ร.ร.ต้องปรับหลักสูตรที่ศธ.กำหนด-เพิ่มความรู้เด็ก
•ข่าวจากระทรวงศึกษาธิการ•
ครม.อนุมัติแต่งตั้งผู้บริหารฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ (กระทรวงศึกษาธิการ)
ครม.อนุมัติแต่งตั้งผู้บริหารฝ่ายการเมืองและข้าราชการประจำ (กระทรวงศึกษาธิการ)
•ข่าวการศึกษา•
"บิ๊กหนุ่ย" แจงโยก "กมล" ไปสกศ. หวังดันปฏิรูปการศึกษาโฉมใหม่
"บิ๊กหนุ่ย" แจงโยก "กมล" ไปสกศ. หวังดันปฏิรูปการศึกษาโฉมใหม่
•ข่าวการศึกษา•
โยก “กมล” นั่ง สกศ. “การุณ” นั่ง กพฐ.
โยก “กมล” นั่ง สกศ. “การุณ” นั่ง กพฐ.
•ความรู้ทั่วไป•
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ปี 58 ใน 7 สาขา 32 รายการ มีอะไรบ้าง คลิกเลย
มรดกภูมิปัญญาทางวัฒนธรรม ปี 58 ใน 7 สาขา 32 รายการ มีอะไรบ้าง คลิกเลย
•ข่าวการศึกษา•
"การุณ" ผงาดยึดเก้าอี้บิ๊ก สพฐ.
"การุณ" ผงาดยึดเก้าอี้บิ๊ก สพฐ.
•ข่าวการศึกษา•
ครม.แต่งตั้ง เลขาธิการ กพฐ.คนใหม่
ครม.แต่งตั้ง เลขาธิการ กพฐ.คนใหม่
•ข่าวการศึกษา•
ครม. แต่งตั้ง-โยกย้าย ผู้ว่าราชการจังหวัด-บิ๊กมท. กว่า50เก้าอี้ สิงห์ดำขึ้นพรึบ!
ครม. แต่งตั้ง-โยกย้าย ผู้ว่าราชการจังหวัด-บิ๊กมท. กว่า50เก้าอี้ สิงห์ดำขึ้นพรึบ!
•บทความการศึกษา•
ผลิต ใช้ และพัฒนาครูอย่างไร จึงจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพผู้เรียน
ผลิต ใช้ และพัฒนาครูอย่างไร จึงจะนำไปสู่การเพิ่มคุณภาพผู้เรียน

ครูชาญวิทย์

ครูชาญวิทย์
Blog Sites เพื่อประกอบการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ กิจกรรมฝึกทักษะทางประวัติศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120
โรงเรียนเสลภูมิพิทยาคม อ.เสลภูมิ จ.ร้อยเอ็ด 45120
ระบบการเรียน (Knowledge Management-KM) ทักษะที่จำเป็นในการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21 โรงเรียน Worl Class Standrad (1) ทักษะการเรียนรู้ Learning Skills (2) ทักษะการคิด Thinking Skills (3) ทักษะการแก้ปัญหา Problerm Skills (4) ทักษะชีวิต Life Skills (5) ทักษะการใช้เทคโนโลยี Technology Skills (6) ทักษะการสื่อสาร Communication Skills บูรณาการร่วมวิชาคอมพิวเตอร์ ทักษะที่เพรียบพร้อม 4 ด้าน (1) ทักษะด้านรู้ภาษาดิจิตอล Digital Literacy (2) ทักษะด้านรู้คิดประดิษฐ์สร้าง (3) ทักษะด้านการสื่อสารมีประสิทธิภาพ (4) ทักษะด้านการสื่อสารมีประสิทธิผล สู่เป้าหมายคุณภาพ "ดี เก่ง มีความสุข" ตามเป้าหมายของหลักสูตรการศึกษา
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------ครูชาญวิทย์

ข่าว

วันอังคารที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2558

การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์


การวิเคราะห์ข้อมูลทางประวัติศาสตร์


        คือการวิเคราะห์และตีความข้อมูลทางประวัติศาสตร์ โดยการนำข้อมูลที่ได้สืบค้นรวบรวม คัดเลือก และประเมินไว้แล้วนำมาพิจารณาในรายละเอียดทุกด้าน ซึ่งนักประวัติศาสตร์ต้องใช้เหตุผลเป็นแนวทางในการตีความเพื่อนำไปสู่การค้นพบข้อเท็จจริงทางประวัติศาสตร์ที่ถูกต้อง 

        ความสำคัญนั้นเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับผู้ศึกษาประวัติศาสตร์ หรือผู้ที่จะเรียนรู้ประวัติศาสตร์จะได้นำไปใช้ด้วยความรอบคอบ ระมัดระวัง ไม่ลำเอียง และเกิดความน่าเชื่อถือได้มากที่สุด

        1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
           1.1 หลักฐานชั้นต้น
           1.2 หลักฐานชั้นรอง

        2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด
           2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร
           2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร

        3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต
           3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น
           3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง

1. หลักฐานที่จำแนกตามความสำคัญ
        1.1 หลักฐานชั้นต้น primary sources
       หมายถึง คำบอกเล่าหรือบันทึกของผู้พบเห็นเหตุการณ์หรือผู้ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์โดยตรง ได้แก่ บันทึกการเดินทาง จดหมายเหตุ จารึก รวมถึงสิ่งก่อสร้าง หลักฐานทางโบราณคดี โบราณสถาน โบราณวัตถุ เช่น โบสถ์ เจดีย์ วิหาร พระพุทธรูป รูปปั้น หม้อ ไห ฯลฯ                                                                                      
        1.2 หลักฐานชั้นรอง secondary sources                       
        หมายถึง ผลงานที่เขียนขึ้น หรือเรียบเรียงขึ้นภายหลังจากเกิดเหตุการณ์นั้นแล้ว โดยอาศัยคำบอกเล่า หรือจากหลักฐานชั้นต้นต่างๆ ได้แก่ ตำนาน วิทยานิพนธ์ เป็นต้น

2. หลักฐานที่ใช้อักษรเป็นตัวกำหนด

        2.1 หลักฐานที่เป็นลายลักษณ์อักษร written sources
   หมายถึง หลักฐานที่มีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษรบอกเล่าเรื่องราวต่างๆ ได้แก่ ศิลาจารึก พงศาวดาร ใบลาน จดหมายเหตุ วรรณกรรม ชีวประวัติ หนังสือพิมพ์ วารสาร นิตยสาร รวมถึงการบันทึกไว้ตามสิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ แผนที่ หลักฐานประเภทนี้จัดว่าเป็นหลักฐานสมัยประวัติศาสตร์
        2.2 หลักฐานที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร
   หมายถึง สิ่งที่มนุษย์สร้างขึ้นทั้งหมดที่ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร ได้แก่ สิ่งก่อสร้าง โบราณสถาน โบราณวัตถุ ศิลปการแสดง คำบอกเล่า นาฏศิลป์ ตนตรี จิตรกรรม ฯลฯ

3. หลักฐานที่กำหนดตามจุดหมายของการผลิต

        3.1 หลักฐานที่มนุษย์ตั้งใจสร้างขึ้น artiface
หลักฐานที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ในการดำรงชีวิต
        3.2 หลักฐานที่มิได้เป็นผลผลิตที่มนุษย์สร้างหรือตั้งใจสร้าง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น

ครูชาญวิทย์

ครูชาญวิทย์